ตารางการนำเสนอผลงาน
ลำดับการนำเสนอผลงาน
กำหนดการ
WED
17
พฤษภาคม '66
13.30 - 16.30
ลงทะเบียน
THU
18
พฤษภาคม '66
08.00 - 08.30
ลงทะเบียน
08.30 - 09.00
พิธีเปิด
09.00 - 10.00
บรรยายพิเศษ เรื่อง "ระบบนิเวศอันเร้นลับในคาบสมุทรไทย Unseen ecosytems in Peninsular Thailand" โดย รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐ
10.00 - 10.30
พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 12.00
นำเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation
10.30 - 10.50

ปูน้ำจืดในระบบนิเวศถ้ำหินปูนของประเทศไทย

การทบทวนอนุกรมวิธานของผึ้ง สกุล Megachile Latreille, 1802 ในประเทศไทย

การศึกษาทวบทวนอนุกรมวิธานของพืชสกุลหญ้าข้าวก่ำ (Burmannia) ในประเทศไทย

บันทึกทางพรรณสัตว์และไอโซโทปสมัยไพลสโตซีนเผยให้เห็นถึงระบบนิเวศแบบป่าไม้-ทุ่งหญ้าโมเสกในคาบสมุทรไทย

10.50 - 11.10

โปรติโอมิกส์ของแอนติเจนในพิษงูเขียวหางไหม้ท้องเหลืองที่จำเพาะต่อเซรุ่มแก้พิษงู

การทบทวนผีเสื้อหนอนม้วนใบเผ่า Olethreutini วงศ์ย่อย Olethreutinae ในประเทศไทย

อนุกรมวิธานของพืชสกุล Canthium sensu lato (วงศ์เข็ม: เผ่า Vangurieae) ในประเทศไทย

ธรรมชาติวิทยาของแมงมุม Atmetochilus songsangchotei (Mygalomorphae, Bemmeridae) ในประเทศไทย

11.10 - 11.30

ความหลากหลายและการเลือกใช้ถิ่นอาศัยย่อยของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในพื้นที่เขากระโจม อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี

ความชุกชุมของกลุ่มแมลงปอในสวนสาธารณะจังหวัดกรุงเทพมหานคร

ความหลากหลายชนิดของพืชวงศ์กก ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ

ความหลากหลายและนิสัยการสร้างรังของมดเอวหนาม สกุล Polyrhachis Smith, 1857 ในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา

11.30 - 11.50

ศักยภาพของแพลตฟอร์ม iNaturalist ในการศึกษาความหลากหลายและอนุกรมวิธานของผึ้งในประเทศไทย

การศึกษาจักจั่นงวง (Hemiptera: Fulgoridae) ในประเทศไทย

พืชอาศัยราสกุล Thismia หมู่ Thismia (วงศ์ Thismiaceae) ในประเทศไทย

12.00 - 13.00
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 - 14.00
บรรยายพิเศษ เรื่อง "แพลงก์ตอนสัตว์น้ำจืด: จากน้อยสู่การศึกษาอย่างละเอียดในประเทศไทย" โดย รศ.ดร.สุปิยนิตย์ ไม้แพ
14.00 - 15.00
นำเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation
14.00 - 14.20

ซิสเทมาติกส์และชีวภูมิศาสตร์ของกิ้งกือกระสุนสกุล Rhopalomeris Verhoeff, 1906 (Diplopoda, Glomerida) ในประเทศไทย

แมงมุมสกุล Portia Karsch, 1878 (Araneae: Salticidae) ในประเทศไทย

สัณฐานวิทยาของเมล็ด สถานภาพการอนุรักษ์ และการอนุรักษ์พันธุกรรมในรูปแบบธนาคารเมล็ดของต้นหยาดมโนราห์ (Microchirita mollissima)

บทบาทของหอยกะพงเทศ Mytilopsis sallei ในการเป็นวิศวกรระบบนิเวศที่ส่งผลต่อรูปแบบการกระจายของสัตว์หน้าดินในคลองพะวง ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา

14.20 - 14.40

ความหลากหลายของกิ้งกือมังกรในบริบททางชีวภูมิศาสตร์

แมลงหางดีดถ้ำสกุล Troglopedetes Joseph, 1872 ในประเทศไทย

การศึกษาสัณฐานวิทยาของดอกเพศเมียที่มีรังไข่ลดรูปในพืชสกุล Croton สามชนิด (Euphorbiaceae)

บทบาทการเป็นวิศวกรระบบนิเวศของหอยสองฝาต่างถิ่นรุกราน Mytilopsis sallei และ Mytella strigata ต่อสังคมสัตว์พื้นทะเลไม่มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่ในทะเลสาบสงขลา

14.40 - 15.00

กิ้งกือกระสุนพระรามอันดับ Glomerida ในประเทศไทยและลาว

ปัญหาโลกร้อนกับสัตว์ถ้ำในเขตร้อน: กรณีศึกษาในแมลงหางดีดถ้ำสกุล Coecobrya Yosii, 1956 (Collembola: Entomobryidae) ในประเทศไทย

กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบเนื้อไม้เผ่ากระท่อม (วงศ์เข็ม) บางชนิดในประเทศไทย

การเปลี่ยนแปลงสังคมแพลงก์ตอนพืชขนาดเล็กชายฝั่งในทะเลสาบสงขลา

15.00 - 15.30
พักรับประทานอาหารว่าง
15.30 - 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ Poster Presentation
15.30 - 15.45

รายงานการค้นพบผีเสื้อกลางคืนชนิดใหม่ในสกุล Xenolepis Diakonoff, 1973 (Lepidoptera: Tortricidae: Olethreutinae) จากประเทศไทย

การจัดระบบของคาลานอยด์โคพีพอดสกุล Tropodiaptomus Kiefer, 1932 ในประเทศไทย

กิ้งกือในพื้นที่เขาหินปูนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

การพัฒนา minibar-HRM ในการจัดจำแนกชนิดตุ๊กกาย

การศึกษาสังคมราบริเวณรากพืช เพื่อค้นหาราที่มีศักยภาพในการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพต่อกลไกการสร้างไบโอฟิล์มของแบคทีเรีย

ความมากชนิดและความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในดินในอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่

15.45 - 16.00

การค้นพบผีเสื้อหนอนม้วนใบวงศ์ย่อย Olethreutinae ชนิดใหม่ของโลกจากประเทศไทยช่วงโควิด 19

ความหลากชนิดของเดลลอยด์โรติเฟอร์ในมอสส์บนต้นไม้ บริเวณสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า พิษณุโลก ในพระราชดำริ

ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของกิ้งกือกระสุนพระอินทร์ สกุล Zephronia Gray, 1983 และ Sphaerobelum Verhoeff, 1924 จากข้อมูลดีเอ็นเอ

การประยุกต์ใช้เทคนิค Bar-HRM เพื่อการจำแนกชนิดงูในประเทศไทย

การค้นพบรา Daldinia ชนิดใหม่ในประเทศไทย

สังคมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณแนวหญ้าทะเล ในคลองตากใบ จังหวัดนราธิวาส

16.00 - 16.15

การศึกษาทรานสคริปโตมของขนพิษและต่อมพิษของหนอนผีเสื้อ Parasa lepida (Cramer) จากพื้นที่ป่าชุมชนและพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรในภาคใต้ของประเทศไทย

ความหลากชนิดของเดลลอยด์โรติเฟอร์ในไบรโอไฟต์บริเวณป่าชายหาดบางเบิด จังหวัดชุมพร

ปลาหมึกแคระหางแหลม Idiosepius pygmaeus Steenstrup, 1881 ในอ่าวไทย การค้นพบครั้งที่สองจาก type locality 141 ปี

การระบุชนิดเหยื่อจากก้อนกากอาหารของนกแสก (Tyto alba) โดยใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด

การลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลรา Daldinia โดยใช้ MALDI-TOF

ความหนาแน่นประชากรของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่และปลาแนวปะการังที่ครูดกิน บริเวณแปลงอนุบาลปะการังเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี

16.15 - 16.30

ความหลากหลายของมดพื้นถิ่นและมดต่างถิ่นในอุทยานแห่งชาติคลองลาน

โรติเฟอร์และคลาโดเซอแรนในแหล่งน้ำบริเวณป่าปาล์มสาคูจังหวัดพัทลุงและสตูล

การศึกษาเบื้องต้นความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน ในศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินธร จังหวัดนราธิวาส

การสังเกตพฤติกรรมการผสมพันธุ์และทำรังในถิ่นอาศัยของนกตะกรุมบนเกาะพระทอง จังหวัดพังงา ประเทศไทย

ราบนใยแมงมุม Cyclosa mulmeinensis

กลุ่มสิ่งมีชีวิตปะการังบริเวณกองหินมัดสุ่ม เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

16.30 - 16.45

ความชุกชุมของตัวอ่อนแมลงชีปะขาว ตัวอ่อนแมลงเกาะหิน และตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ ในบริเวณล่างฝายและเหนือฝายคลองคอกช้าง น้ำตกโตนหญ้าปล้อง จังหวัดสงขลา

ความหลากหลายของแพลงก์ตอนสัตว์ในแหล่งน้ำจืดในแหล่งชุมชน อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก

ความหลากหลายของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณกลุ่มสิ่งมีชีวิตปะการังในอ่าวไทยฝั่งตะวันออก

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในป่าปาล์มสาคูจังหวัดพัทลุงและสตูล

ความหลากหลายของชนิดพันธุ์และพันธุกรรมของจุลินทรีย์ทะเลในจังหวัดนครศรีธรรมราช

การเปรียบเทียบความหลากหลายและความชุกชุมของปลากินปะการังวงศ์ Chaetodontidae บริเวณกองหินใต้น้ำที่มีศักยภาพการท่องเที่ยวต่างกันในจังหวัดสุราษฎร์ธานี

16.45 - 17.00

ความหลากหลายของแมลงวันผลไม้และแมลงวันปีกลาย ในน้ำตกโตนหญ้าปล้อง จังหวัดสงขลา

การศึกษาความหลากหลายของชนิดและจำนวนของหอยเสียบบริเวณหาดมหาราช อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

สถานภาพปัจจุบันของกระจายตัวและอนุกรมวิธานของกะท่างน้ำ (Urodela; Salamandridae) ในประเทศไทย

การพัฒนาอาหารแยกเชื้อราเดอร์มาโตไฟต์ชนิดทริโคพัยตอน

การเปรียบเทียบความหลากหลายของชนิดแพลงก์ตอนบริเวณหาดมหาราช อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

17.00 - 17.15

ผลของสารสกัดจากใบกระท่อม (Mitragyna speciosa) ต่อวงจรชีวิตของแมลงหวี่

17.15 - 17.30

การศึกษาลักษณะของหอยแมลงภู่ (Perna viridis Linnaeus, 1758) บริเวณหาดมหาราช อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

17.30 - 20.00
งานเลี้ยงต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม ณ คณะวิทยาศาสตร์
FRI
19
พฤษภาคม '66
08.30 - 09.00
ลงทะเบียน
09.00 - 10.00
บรรยายพิเศษ เรื่อง "มุมมองความก้าวหน้าของงานด้านอนุกรมวิธานสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตว์เลื้อยคลานในประเทศไทย" โดย ผศ.ดร.ยอดชาย ช่วยเงิน
10.00 - 10.30
พักรับประทานอาหารว่าง
10.30 - 12.00
นำเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation
10.30 - 10.50

ไดโนเสาร์ซอโรพอดแห่งคาบสมุทรอินโดจีน

ผลของการจัดการเลี้ยงชันโรงต่อความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรชันโรง (Heterotrigona itama) ของประเทศไทย

การประเมินสถานภาพการอนุรักษ์ของพรรณไม้วงศ์ชาฤาษี (Gesneriaceae) บางชนิดของประเทศไทย

THE ROLE OF WHOLE GENOME SEQUENCING IN MICROBIAL CLASSIFICATION AN ITS APPLICATIONS

สิ่งที่เราควรรู้ก่อนใช้ผึ้งหึ่งเป็นแมลงถ่ายเรณูพืชผล: ชีววิทยารังและพืชอาหารของผึ้งหึ่งบนดอยอินทนนท์

10.50 - 11.10

ซิสเทมาติคส์และวิวัฒนาการของไดโนเสาร์กินเนื้อวงศ์สไปโนซอริเด้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ความผันแปรทางพันธุกรรมของ Asclepios annandalei Distant, 1915 (Hemiptera: Heteroptera: Gerridae) ในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย

พืชสกุลเข็มเลื้อย (Hydrophylax) ในประเทศไทย สถานะภาพการอนุรักษ์และการกระจายพันธุ์

THE ROLE OF WHOLE GENOME SEQUENCING IN MICROBIAL CLASSIFICATION AN ITS APPLICATIONS

โครงข่ายการถ่ายเรณูของผึ้งถ่ายเรณูตามระดับความสูงในอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

11.10 - 11.30

ป่าฮาลา-บาลา พื้นที่สำคัญด้านความหลากหลายทางชีวภาพของค้างคาว และการค้นพบค้างคาวหน้ายักษ์ (Chiroptera: Hipposideridae: Hipposideros) ชนิดใหม่

ความหลากหลายทางพันธุกรรมของแมลงดานา Lethocerus indicus (Lepeletier and Serville, 1825) (Hemiptera: Belostomatidae) ในประเทศไทย

สัณฐานวิทยาของผลและเมล็ด และการอนุรักษ์กระเช้าหนู (Aristolochia helix)

THE ROLE OF WHOLE GENOME SEQUENCING IN MICROBIAL CLASSIFICATION AN ITS APPLICATIONS

11.30 - 11.50

หนึ่งศตวรรษ การศึกษาอนุกรมวิธานปลาหมึกแอมโมนอยด์ (Cephalopoda: Ammonoidea) ในประเทศไทย

ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการและการจำแนกชนิดของแมงมุมโบราณท้องปล้องสกุล Liphistius Schiödte, 1849 ในประเทศไทย

สัณฐานวิทยาของผลและเมล็ด และการอนุรักษ์ต้นนูดผา (Finlaysonia curtisii)

การคัดแยกและการระบุลักษณะแบคทีเรียออกซิไดซ์มีเทนชนิดใหม่จากภาคเหนือของประเทศไทย

12.00 - 13.00
พักรับประทานอาหารเที่ยง
13.00 - 13.20

แอกติโนแบคทีเรียจากถ้ำหินปูนเขตร้อนของภาคเหนือในประเทศไทย

อิทธิผลของความเค็มที่กำหนดรูปแบบการกระจายของหอยสองฝาพื้นเมืองและต่างถิ่นในทะเลสาบสงขลา

13.20 - 13.40

แอกติโนแบคทีเรียจากถ้ำหินปูนเขตร้อนของภาคเหนือในประเทศไทย

การวิเคราะห์สายสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการเชิงโมเลกุลแสดงการเคลื่อนย้ายสู่น้ำจืดหลายครั้ง ในหอยเสียบวงศ์ Pharidae (Mollusca: Bivalvia)

13.40 - 14.00

แอกติโนแบคทีเรียจากถ้ำหินปูนเขตร้อนของภาคเหนือในประเทศไทย

ลักษณะไข่และความดกไข่ของกุ้งแคระสกุล Caridina H. Milne Edwards, 1837 ในประเทศไทย

14.00 - 14.20

นิเวศวิทยาบรรพกาลทะเลและบนบกในคาบสมุทรไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ความแปรผันทางสัณฐานวิทยาและสถานะความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของกุ้งฝอยน้ำจืด Macrobrachium lanchesteri (De Man, 1911) ในประเทศไทย

14.20 - 14.40

นิเวศวิทยาบรรพกาลทะเลและบนบกในคาบสมุทรไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

การเปิดเผยความหลากหลายทางอนุกรมวิธานของหอยห่อเปลือกใหญ่สกุล Megaustenia Cockerell, 1912

14.40 - 15.00

นิเวศวิทยาบรรพกาลทะเลและบนบกในคาบสมุทรไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

15.00 - 15.30
พักรับประทานอาหารว่าง
15.30 - 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation
15.30 - 15.50

ความหลายหลายของแมลงน้ำในสวนสาธารณะ กรุงเทพมหานคร

ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการและความแปรผันทางสัณฐานวิทยาของกิ้งก่าอิรวดี Calotes irawadi Zug, Brown, Schulte & Vindum, 2006 (Squamata, Agamidae) ในประเทศไทย

การจำแนกกลุ่มตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียในหอยฝาเดียวบริเวณภาคกลางตอนล่างของประเทศไทยด้วยลักษณะสัณฐานวิทยา

15.50 - 16.10

สถานะทางอนุกรมวิธานแมลงชีปะขาววงศ์ Ephemerellidae (Ephemeroptera) ในประเทศไทย

การใช้ข้อมูลระดับโมเลกุลในการศึกษาอนุกรมวิธานของไอโซพอดทะเลสกุลไซราลานาในประเทศไทย

การติดเชื้อตัวอ่อนพยาธิใบไม้กลุ่ม Parapleurolophocercous cercariae ในหอยฝาเดียว บริเวณลุ่มน้ำท่าจีน จังหวัดสุพรรณบุรี

16.10 - 16.30

ความหลากชนิดของตัวอ่อนแมลงชีปะขาวในลำน้ำภาชี อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี

ชีววิทยาการถ่ายเรณูของต้นตีนฮุ้งดอยในประเทศไทย

ราในที่มืด: เปิดเผยความหลายหลายที่ซ่อนเร้นและค้นพบชนิดใหม่จากสองถ้ำ ในพื้นที่อุทยานธรณีโลกยูเนสโกสตูล ประเทศไทย

16.30 - 16.50

การเปิดเผยทางอนุกรมวิธานของแมลงปอเข็มเล็ก (Coenagrionidae: Agriocnemis) ในประเทศไทย

SAT
20
พฤษภาคม '66
08.30 - 09.00
ลงทะเบียน
09.00 - 11.00
เสวนาพิเศษ เรื่อง "ประเด็นคำถามวิจัยที่มีผลกระทบสูงในการวิจัยเรื่องถ้ำ" นำเสวนาโดย ศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ ปัญหา ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ
11.00 - 11.30
พิธีมอบรางวัล
11.30 - 11.45
พิธีส่งมอบธงสำหรับการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมครั้งที่ 12
11.45 - 12.00
พิธีปิดการประชุม